วันเสาร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2554

รวมบทสรุปข้อสังเกต ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ วิ-อาญา และการค้าระหว่างประเทศ (15 เมษายน 2008)


นิติกรรมบริบูรณ์ สมบูรณ์ โมฆะ โมฆียะ ที่ต้องได้รับอนุญาตจากศาล
1.ไม่บริบูรณ์ ม.1299ว.1(ได้อสังหาริมทรัพย์โดยนิติกรรม)
2.สมบูรณ์
3.โมฆะ ม.1435(หมั้นก่อน 17 ),ม.1438(เบี้ยปรับเมื่อนผิดสัญญาหมั้น), )ม.,1465(สัญญาก่อนสมรสขัดค.สงบฯ,ใช้กฎหมายประเทศอื่น,ม.1466(แบบสัญญาก่อนสมรส),ม.1703(อายุไม่ถึง 15 ทำพินัยกรรม)
4.โมฆียะ ม.21(ผู้เยาว์),ม.1436 ว.2หมั้นโดยปราศจากความยินยอมของผู้ปกครอง)
5.นิติกรรมที่ต้องได้รับอนุญาตจากศาล ม.1467(การเปลี่ยนแปลงหรือเพิกถอนสัญญาก่อนสมรส),ม.1611(ผู้เยาว์,คนวิกลจริตสละมรดก,รับมรดกซึ่งต่างกับหลักเกณฑ์ทั่วไปคือต้องได้รับอนุมัติจากศาล)
บทจำกัดสิทธิอุทธรณ์ฎีกา
ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
1.คำพิพากษาเป็นที่สุด ม.6ว.2, ม.136 ว.1,ม.137ว.2,ม.163/3,ม.199เบญจ ว.4 , ม.288ว.3, ม.293ว.3
2.คำสั่งเป็นที่สุด 8ว.2(ศาลสองศาลมีเรื่องประเด็นเดียวกัน,เกี่ยวเนื่องใกล้ชิดกัน อธิบดีศาลอุทธรณ์สั่ง),ม.28 ว.ท้าย,ม.230ว.3,ม233ทวิ,ม.236, ม.296(วางประกันการเพิกถอน),ม.306ว.2(คำสั่งอนุญาตให้ขายทอดตลาด),ม.307ว.2(คำสั่งตั้งผู้จัดการอสังฯของศาลอุทธรณ์),ม.309(คำสั่งขายทอดตลาดรวมแยก),309ทวิ(เพิกถอนการขายทอดตลาด),ม.310(การจัดการกับสิทธิเรียกร้องที่ยึดมา)ม.320ว.3(คำสั่งศาลเกี่ยวกับคำร้องคัดค้านบัญชีส่วนเฉลี่ย),

ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
1.คำสั่งเป็นที่สุด ม.198 ทวิ ว.3
2.ห้ามอุทธรณ์ฎีกา ม.138 ,ม.255ว.3
ในคดีอาญา
ม.166 ว.ท้าย,ม.170 คำสั่งคดีมีมูลย่อมเด็ดขาด

 ตามประมวลกฎหมายอาญา
ม.30/3(บริการสาธารณแทนค่าปรับ)
พรบ.รับขนของทางทะเล พ.ศ.2534
1.ภาระการพิสูจน์ของผู้ขนส่ง =ม.11ว3, ม.51,ม.52,ม..55,ม.56ว1
2.ภาระการพิสูจน์ของผู้ใช้สิทธิเรียกร้อง ม.53,ม.54
3.ไม่ระบุว่าเป็นภาระฝ่ายใด=ม.56ว.2
4.ข้อสันนิษฐาน=ม.22,ม.49
5.กำหนดเวลาต่างๆและอายุความ=ม.37(90วัน),ม.48(60วัน),ม.49(2)



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น