ผู้เขียนได้อ่านหนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ฉบับ ลงวันที่ 31 ธันวาคม 2555 หน้า 12 ซึ่งกล่าวว่า "ผลการวิจัยการจัดอันดับความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษในกลุ่มประเทศที่ไม่ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาแม่ จำนวน 54 ประเทศของ บริษัทเอดูเคชั่น เฟิร์สต์ ระบุว่า ไทยรั้งอันดับ 53 ซึ่งเป็นตำแหน่งรองบ๊วยของประเทศที่มีความสามารถการใช้ภาษาอังกฤษต่ำ"
ผู้เขียนขอตั้งข้อสังเกตว่า ผลการวิจัยดังกล่าวมีข้อมูลสนับสนุนเพียงพอหรือไม่ เนื่องเพราะ บริษัทดังกล่าวเป็นเพียงผู้ทำธุรกิจสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย และ มีโรงเรียนภาษาของตนในประเทศที่ใช้ภาษาอังกฤษเท่านั้น ขณะที่ผู้จัดการสอบวัดระดับความสามารถทางด้านภาษาอังกฤษในระดับโลก เช่น ETS ซึ่งจัดสอบ TOEFL และ TOEIC หรือ แม้แต่ University of Cambridge ซึ่งเป็นผู้จัดการสอบ IELTS ก็ไม่เคยออกมาจัดลำดับว่าประเทศใดมีความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษอ่อนที่สุด
วันจันทร์ที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันจันทร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2555
อัตราค่าเทมอ LL.M.มหาวิทยาลัยต่างประเทศสำหรับนักศึกษาไทย
Australia
ปี 2013
Melbourne University = AU$33,600 = 1,057,056 บาท (ราคาเท่ากันทั้งนักศึกษาไทยหรือนักศึกษาออสเตรเลียน)
Monash University = AU$ 34,810 = 1,095,122.6 บาท
La Trobe University = AU$ 25,810 = 811,982.6 บาท
USA
ปี 2013
American University= US$ 45,914 = 1,353,544.72 บาท
Boston University = US$ 43,280 =1,275,894.40 บาท
Indiana University =US$ 32,000 =943,360 บาท (2011-2012)
UK
ปี 2012
Queen Marry University of London = £15,000 = 696,000 บาท
King's College = £17,500 = 812,000 บาท
ปี 2013
Melbourne University = AU$33,600 = 1,057,056 บาท (ราคาเท่ากันทั้งนักศึกษาไทยหรือนักศึกษาออสเตรเลียน)
Monash University = AU$ 34,810 = 1,095,122.6 บาท
La Trobe University = AU$ 25,810 = 811,982.6 บาท
USA
ปี 2013
American University= US$ 45,914 = 1,353,544.72 บาท
Boston University = US$ 43,280 =1,275,894.40 บาท
Indiana University =US$ 32,000 =943,360 บาท (2011-2012)
UK
ปี 2012
Queen Marry University of London = £15,000 = 696,000 บาท
King's College = £17,500 = 812,000 บาท
อุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของสำนักงานอัยการสูงสุดเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย สค 178/2552 และ สค 125/2552
คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
สาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับใช้กฎหมาย
คำวินิจฉัยที่ สค 178/2552
ข้อมูลข่าวสารตามอุทธรณ์เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการอภิปรายแสดงความคิดเห็นและมีมติในที่ประชุมของ ก.อ. ซึ่งเป็นการแสดงความคิดเห็นและการใช้ดุลพินิจเฉพาะตัวของกรรมการอัยการแต่ละคนตามที่กฎหมายให้อำนาจหน้าที่ไว้ ข้อมูลข่าวสารตามอุทธรณ์ จึงเป็นความเห็นหรือคำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ตามนัย มาตรา 15 (3) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ประกอบกับการเปิดเผยข้อมูลข่่าวสารตามอุทธรณ์จะทำให้ทราบว่า บุคคลใดอภิปรายในที่ประชุมอย่างไร อาจมีผลกระทบต่อการแสดงความคิดเห็นอันเป็นอิสระของกรรมการอัยการ ซึ่งเป็นผู้อภิปรายและลงความเห็นในการประชุมครั้งดังกล่าว นอกจากนี้การเปิดเผยให้ทราบความเห็นของกรรมการอัยการแต่ละคน เพื่อทำให้เกิดการนำไปฟ้องคดี อาจส่งผลเสียหายต่อการดำเนินงานของ ก.อ. ซึ่งมีความรับผิดชอบร่วมกันในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ดังนั้น เมื่อคำนึงถึงการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ ประโยชน์สาธารณะประกอบกันแล้ว การที่สำนักงานอัยการสูงสุดใช้ดุลพินิจไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามอุทธรณ์ จึงชอบแล้ว
(ข้อมูลจากอัยการนิเทศ เล่มที่ 74 พุทธศักราช 2554 หน้า 290)
สาขาสังคม การบริหารราชการแผ่นดินและการบังคับใช้กฎหมาย
คำวินิจฉัยที่ สค 178/2552
ข้อมูลข่าวสารตามอุทธรณ์เป็นข้อมูลเกี่ยวกับการอภิปรายแสดงความคิดเห็นและมีมติในที่ประชุมของ ก.อ. ซึ่งเป็นการแสดงความคิดเห็นและการใช้ดุลพินิจเฉพาะตัวของกรรมการอัยการแต่ละคนตามที่กฎหมายให้อำนาจหน้าที่ไว้ ข้อมูลข่าวสารตามอุทธรณ์ จึงเป็นความเห็นหรือคำแนะนำภายในหน่วยงานของรัฐในการดำเนินการเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ตามนัย มาตรา 15 (3) แห่งพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.๒๕๔๐ ประกอบกับการเปิดเผยข้อมูลข่่าวสารตามอุทธรณ์จะทำให้ทราบว่า บุคคลใดอภิปรายในที่ประชุมอย่างไร อาจมีผลกระทบต่อการแสดงความคิดเห็นอันเป็นอิสระของกรรมการอัยการ ซึ่งเป็นผู้อภิปรายและลงความเห็นในการประชุมครั้งดังกล่าว นอกจากนี้การเปิดเผยให้ทราบความเห็นของกรรมการอัยการแต่ละคน เพื่อทำให้เกิดการนำไปฟ้องคดี อาจส่งผลเสียหายต่อการดำเนินงานของ ก.อ. ซึ่งมีความรับผิดชอบร่วมกันในการปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าว ดังนั้น เมื่อคำนึงถึงการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายของหน่วยงานของรัฐ ประโยชน์สาธารณะประกอบกันแล้ว การที่สำนักงานอัยการสูงสุดใช้ดุลพินิจไม่เปิดเผยข้อมูลข่าวสารตามอุทธรณ์ จึงชอบแล้ว
(ข้อมูลจากอัยการนิเทศ เล่มที่ 74 พุทธศักราช 2554 หน้า 290)
คำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
สาขาสังคม
การบริหารราชการแผ่นดินและบังคับใช้กฎหมาย
คำวินิจฉัยที่ สค 125/2552
พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 มาตรา 15(2)(3)(4),33,35
เรื่อง
อุทธรณ์คำสั่งมิให้เปิดเผยข้อมูลข่าวสารของสำนักงานอัยการสูงสุดเกี่ยวกับการดำเนินการทางวินัย
สำนวนการสอบสวนทางวินัยของนาง
ก พนักงานอัยการที่ได้ดำเนินการเสร็จสิ้นแล้วว่า ไม่มีความผิด
การเปิดเผยข้อมูลข่าวสารในสำนวนการสอบสวนดังกล่าวไม่ทำให้การบังคับใช้กฎหมายเสื่อมประสิทธิภาพหรือไม่อาจบรรลุวัตถุประสงค์ได้
ในทางตรงกันข้ามการเปิดเผยจะเป็นการตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของสำนักงานอัยการสูงสุดว่าเป็นไปตามกฎหมายหรือไม่และการเปิดเผยจะทำให้ผู้อุทธรณ์สิ้นข้อสงสัยในการดำเนินการสอบสวนทางวินัยของสำนักงานอัยการสูงสุด
และทำให้เกิดความเชื่อถือต่อการปฏิบัติงานของพนักงานอัยการ
ทั้งไม่ปรากฎข้อเท็จจริงว่า การเปิดเผยจะก่อให้เกิดอันตรายต่อชีวิตหรือความปลอดภัยของบุคคลหนึ่งบุคคลใด
ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสำนวนการสอบสวนทางวินัยนาง ก
จึงเป็นข้อมูลข่าวสารที่เปิดเผยให้ผู้อุทธรณ์ทราบได้
(ข้อมูลจากอัยการนิเทศ เล่มที่ 74 พุทธศักราช 2554 หน้า 283)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)